วันพุธที่ 19 พฤษภาคม พ.ศ. 2553
ความรุนแรงในสังคม
ความรุนแรงในสังคม
1.ไม่มีความปลอดภัยในการเดินทางไปทำงานหรือในที่อื่นๆ มีการข่มขืนอนาจาร การทำร้ายร่างกายและทางเพศมากขึ้นทั้งในที่สาธารณะ ห้างสรรพสินค้า บนรถโดยสารประจำทาง สถานประกอบการ สถานที่ราชการ โรงเรียน หรือแม้แต่ในวัด และทัณฑ์สถาน ซึ่งควรจะเป็นสถานที่ที่ปลอดภัย
2. ผู้หญิงจำนวนมากถูกลวนลามทางเพศ ทั้งทางกาย และทางวาจา ในสถานที่ทำงาน สถานประกอบการ โรงงาน สถานที่สาธารณะ รวมทั้งผู้หญิงที่ทำงานบ้าน และมักไม่ได้รับความเป็นธรรมจากนายจ้าง รวมทั้งเจ้าหน้าที่ของรัฐ เมื่อมีการฟ้องร้อง
3. ปัญหาอาชญากรรม การล่อลวง ฆ่า การมอมเมาเด็ก และเยาวชนด้วยสารเสพติด แหล่งอบายมุขต่างๆ
4. สภาพแวดล้อมด้านอิทธิพลจากสื่อมวลชน ที่ได้เสนอข้อมูลข่าวสารให้เกิดผลลบแก่ผู้รับสารอย่างกว้างขวางและต่อเนื่อง เช่น ค่านิยมฟุ้งเฟ้อ การใช้ความรุนแรง การผลิตสื่อโฆษณา สื่อลามกอนาจาร ที่ก่อให้เกิดการเลียนแบบในทางที่ไม่ถูกต้อง
5. มีการใช้วัตถุระเบิดรวมทั้งการขู่วางระเบิดตามสถานที่ราชการ ห้างสรรพสินค้าและในที่ต่างๆ อีกเป็นจำนวนมาก ซึ่งสิ่งเหล่านี้เป็นอันตรายร้ายแรงต่อชีวิตประชาชนและสังคมโดยรวม
6. มีการเอารัดเอาเปรียบ และแสวงประโยชน์จากเด็ก ทั้งด้านแรงงาน การค้าสารเสพติด และธุรกิจบริการทางเพศ
7. มีการเผยแพร่ภาพลามกทางสื่อต่างๆ ทั้งสิ่งพิมพ์ วิดีโอ อินเตอร์เน็ต และสื่ออื่นๆ โดยเฉพาะสื่อทางอินเตอร์เน็ต ซึ่งถูกใช้เป็นช่องทางในการติดต่อสื่อสาร เพื่อล่อลวงเหยื่อนำไปสู่การกระทำในรูปแบบต่างๆ นอกจากนี้ยังมีการใช้สื่อโฆษณาหาเพื่อนคุยทางโทรศัพท์และอินเตอร์เน็ต โดยที่เด็กขาดความรู้ ความเข้าใจ และรัฐขาดการควบคุมดูแล
1.ไม่มีความปลอดภัยในการเดินทางไปทำงานหรือในที่อื่นๆ มีการข่มขืนอนาจาร การทำร้ายร่างกายและทางเพศมากขึ้นทั้งในที่สาธารณะ ห้างสรรพสินค้า บนรถโดยสารประจำทาง สถานประกอบการ สถานที่ราชการ โรงเรียน หรือแม้แต่ในวัด และทัณฑ์สถาน ซึ่งควรจะเป็นสถานที่ที่ปลอดภัย
2. ผู้หญิงจำนวนมากถูกลวนลามทางเพศ ทั้งทางกาย และทางวาจา ในสถานที่ทำงาน สถานประกอบการ โรงงาน สถานที่สาธารณะ รวมทั้งผู้หญิงที่ทำงานบ้าน และมักไม่ได้รับความเป็นธรรมจากนายจ้าง รวมทั้งเจ้าหน้าที่ของรัฐ เมื่อมีการฟ้องร้อง
3. ปัญหาอาชญากรรม การล่อลวง ฆ่า การมอมเมาเด็ก และเยาวชนด้วยสารเสพติด แหล่งอบายมุขต่างๆ
4. สภาพแวดล้อมด้านอิทธิพลจากสื่อมวลชน ที่ได้เสนอข้อมูลข่าวสารให้เกิดผลลบแก่ผู้รับสารอย่างกว้างขวางและต่อเนื่อง เช่น ค่านิยมฟุ้งเฟ้อ การใช้ความรุนแรง การผลิตสื่อโฆษณา สื่อลามกอนาจาร ที่ก่อให้เกิดการเลียนแบบในทางที่ไม่ถูกต้อง
5. มีการใช้วัตถุระเบิดรวมทั้งการขู่วางระเบิดตามสถานที่ราชการ ห้างสรรพสินค้าและในที่ต่างๆ อีกเป็นจำนวนมาก ซึ่งสิ่งเหล่านี้เป็นอันตรายร้ายแรงต่อชีวิตประชาชนและสังคมโดยรวม
6. มีการเอารัดเอาเปรียบ และแสวงประโยชน์จากเด็ก ทั้งด้านแรงงาน การค้าสารเสพติด และธุรกิจบริการทางเพศ
7. มีการเผยแพร่ภาพลามกทางสื่อต่างๆ ทั้งสิ่งพิมพ์ วิดีโอ อินเตอร์เน็ต และสื่ออื่นๆ โดยเฉพาะสื่อทางอินเตอร์เน็ต ซึ่งถูกใช้เป็นช่องทางในการติดต่อสื่อสาร เพื่อล่อลวงเหยื่อนำไปสู่การกระทำในรูปแบบต่างๆ นอกจากนี้ยังมีการใช้สื่อโฆษณาหาเพื่อนคุยทางโทรศัพท์และอินเตอร์เน็ต โดยที่เด็กขาดความรู้ ความเข้าใจ และรัฐขาดการควบคุมดูแล
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
ผู้ติดตาม
คลังบทความของบล็อก
-
▼
2010
(72)
- ► กุมภาพันธ์ (6)